วันพฤหัสบดีที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561

เทคโนโลยีการรักษา "แผลที่เท้า" ของผู้ป่วย "เบาหวาน"

แผลเบาหวานที่เท้า   (Diabetic Foot Ulcer)

  1. 85% ของผู้ป่วยเบาหวานที่ถูกตัดเท้ามีแผลบริเวณเท้ามาก่อน
  2. 40% - 70% ของโรคเบาหวานมีความเสี่ยงต่อการถูกตัดขา/เท้า
  3. ทุกๆ 30 วินาทีมีผู้ป่วยเบาหวานสูญเสียเท้าจากการถูกตัดขา/เท้า
  4. 1 ใน 6 รายของผู้ป่วยเบาหวาน ต้องเคยมีบาดแผลอย่างน้อย 1 ครั้ง

    Ultrasonic ( เทคโนโลยีการเลาะเนื้อเยื่อเล็ก )
                    เครื่องมือที่จะช่วยการรักษาแผลเป็น โดยวิธีปล่อยคลื่นความถี่ต่ำไปบริเวณผิวหนังที่เป็นแผล ลักษณะการทำงานจะมีฟองก๊าซ ขนาดเล็กคล้ายโพรงอากาศ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยลดเนื้อเยื่อไขมันในเซลล์ การทำงานของคลื่นอัลตร้าโซนิกจะเพิ่มพลังงานจลน์ ของการเคลื่อนที่ของโมเลกุลภายในเซลล์  ส่งผลให้จำนวนของเชื้อแบคทีเรียและเนื้อเยื่อที่ตายแล้วบนแผลและไบโอฟิล์มก็จะถูกลบออกโดยไม่มีความเสียหายใดที่เกิดขึ้นกับเนื้อเยื่อบริเวณใกล้เคียง
ดาว์โหดข้อมูล

Honda หยุดผลิตหุ่นยนต์ ASIMO พร้อมนำเทคโนโลยีหุ่นยนต์เดินได้ไปต่อยอดด้านอื่น

Honda หยุดผลิตหุ่นยนต์ ASIMO พร้อมนำเทคโนโลยีหุ่นยนต์เดินได้ไปต่อยอดด้านอื่น

งานเลี้ยงย่อมมีวันเลิกรา เช่นเดียวกับการหุ่นยนต์ที่เดินได้ 2 ขาสุดฉลาดอย่างASIMO หรือ คนไทยรู้จักในชื่อว่า อาซิโม กำลังจะต้องเป็นความทรงจำไป เมื่อ Honda ผู้ผลิตรถยนต์รายใหญ่ของญี่ปุ่นได้ออกมาบอกว่า จะยุติการผลิตหุ่นยนต์ ASIMOซึ่งข่าวนี้ทำให้หลายคนค่อนข้างตกใจไม่น้อย อย่างไรก็ดี ฮอนด้าบอกว่า จะนำเทคโนโลยีจาก ASIMO ไปต่อยอดทำอย่างอื่นต่อและคงเห็นในโลกอนาคต เช่นที่จัดแสดงในงาน CES 2018 กับ Concept Uni Cub ที่เป็นเก้าอี้ช่วยเหลือในเรื่องการเดิน นั่นเองHonda Uni Cub
ความเป็นมาของหุ่นยนต์ ASIMO เริ่มต้นในการพัฒนามาตั้งแต่ปี 1980 จนสำเร็จออกมาเป็นหุ่นยนต์ขนาดไม่เล็กและไม่ใหญ่เกินไป เปิดตัวครั้งแรกในปี 2000 โดย ASIMO เป็นชื่อที่ย่อมาจาก Advanced Step in Innovative Mobility

ดาว์โหรดข้อมุล

เทคโนโลยี “รถ F1” สักวันจะมาอยู่ในรถคุณ!

คือเทคโนโลยีในรถบ้านที่ถูกติดตั้งจนกลายเป็นเรื่องปกติสำหรับรถยนต์ในปัจจุบัน
กับลูกเล่นของเกียร์อัตโนมัติที่สามารถปรับโหมดให้ได้ความรู้สึกเหมือนกับขับรถเ
กียร์ธรรมดา ซึ่งมักจะถูกติดตั้งไว้ที่หลังพวงมาลัย
รวมถึงคันเกียร์ปกติโดยจุดเริ่มของเกียร์ที่เป็นรูปแบบ Paddle Shift
มาจากทีมแข่งเฟอร์รารี่ ที่คิดค้นเทคโนโลยีนี้เป็นครั้งแรกลงแข่งขันเอฟวันในปี
1989 จากนั้นในปี 1997 ค่ายเฟอร์รารี่ จะนำระบบนี้มาใส่ในรถ เฟอร์รารี F355
เป็นครั้งแรก ก่อนที่ปัจจุบัน ระบบดังกล่าวจะแพร่หลายในรถยนต์ทุกรุ่นทุกยี่ห้อ
ระบบอากาศพลศาสตร์ (Aerodynamics)
ระบบปีกหลังปรับระดับได้ หรือที่ผู้บรรยายเอฟวันจะเรียกว่า DRS (Drag Reduction System)
ที่นักขับเอฟวันจะกดปุ่มเปิด DRS ในขณะวิ่งในทางตรงยาวๆนั้น
แท้จริงแล้วมันคือสุดยอดเทคโนโลยีเรื่องของหลักอากาศพลศาสตร์
ที่จะทำให้รถไปได้เร็วขึ้นในขณะเดียวกันก็ช่วยเพิ่มแรงกด (downforce)
ให้ตัวรถยึดเกาะพื้นแทร็กได้ดีขึ้นตามไปด้วยเช่นกัน


เอกสารดาวน์โหลด
 

วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2561

เทคโนโลยีการรักษา "แผลที่เท้า" ของผู้ป่วย "เบาหวาน"

แผล เบาหวาน ที่เท้า   ( Diabetic Foot Ulcer) 85% ของผู้ป่วย เบาหวาน ที่ถูกตัดเท้ามีแผลบริเวณเท้ามาก่อน 40% - 70% ของ โรคเบาหวาน มีความ...